หลักสูตร “Core Tools Technique” (APQP, PPAP & CONTROL PLAN, FMEA, MSA, SPC) In-house Training
หลักการและเหตุผล หัวใจสำคัญของอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่นำมาปรับปรุงและพัฒนาด้านระบบ คุณภาพให้มีประสิทธิผลและสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าทางด้านอุตสาหกรรมยานยนต์นำมาปฏิบัติให้สอดคล้องกับ ระบบของ ISO/TS16949 (IATF 16949) เครื่องมือสำคัญดังกล่าวคือ Core Tools Technique ประกอบด้วย เครื่องมือทั้งหมด 6 ชนิดได้แก่ APQP, PPAP & CONTROL PLAN, FMEA, MSA, SPC เครื่องมือเหล่านี้ใช้เป็นเครื่องมือหลักในอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อระบุข้อบกพร่องในระยะเริ่มแรกก่อนที่จะเริ่มการผลิตหรือบริการเป็นเวลานานและมี คุณสมบัติก่อนที่จะมีกระบวนการผลิตจำนวนมากและเพื่อลดความเสี่ยงอย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ผู้อบรมเข้าใจความหมาย ความสำคัญของข้อกำหนดพื้นฐานของ ISO/TS16949 (IATF 16949) ที่เกี่ยวข้องกับ ด้านของ Core Tools Technique
- เพื่อให้ผู้อบรมทราบความสัมพันธ์ระหว่าง APQP ,FMEA, Control Plans, MSA, SPC ,PPAP ข้อกำหนดพื้นฐานของ ISO/TS16949 (IATF 16949)
- เพื่อให้ผู้อบรมเข้าใจและประยุกต์ใช้สำหรับกระบวนการเพื่อระบุข้อบกพร่องในระยะเริ่มแรกก่อนที่จะ เริ่มการผลิตหรือบริการและคุณสมบัติก่อนที่จะมีกระบวนการผลิตจำนวนมาก อย่างมีประสิทธิผล
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้อบรมทราบ อบรมเข้าใจความหมาย ความสำคัญของข้อกำหนดพื้นฐานของ ISO/TS16949 (IATF 16949) ที่ เกี่ยวข้องกับด้านของ Core Tools Technique.
- ผู้อบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง APQP ,FMEA, Control Plans, MSA, SPC ,PPAP ข้อกำหนดพื้นฐานของ ISO/TS16949 (IATF 16949)
- ผู้อบรมสามารถนำไปประยุกต์ใช้สำหรับกระบวนการเพื่อระบุข้อบกพร่องในระยะเริ่มแรกก่อนที่จะเริ่ม การผลิตหรือบริการและคุณสมบัติก่อนที่จะมีกระบวนการผลิตจำนวนมาก อย่างมีประสิทธิผล
รูปแบบการฝึกอบรม
- ทฤษฎี 60 % ปฏิบัติ 30 %
- การเรียนรู้แบบ Blended Learning Solution ระบบการเรียนรู้แบบผสมผสานเชิงสร้างสรรค์
- การเรียนรู้จากการถ่ายทอดประสบการณ์ Learn by Experience.
- Work shop / Case Study <กิจกรรมระดมสมองและร่วมการด าเนินกิจกรรมเสมือนจริง>
เนื้อหาบรรยาย
(วันที่ 1)
Module 1: บริบทของการวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ใหม่ (Advance Product Quality Planning: APQP)
- ทบทวนข้อกำหนดพื้นฐานของ ISO/TS16949 (IATF 16949) ที่เกี่ยวข้องกับด้านของ Core Tools Technique
- เครื่องมือในการวางแผน APQP และความสัมพันธ์ระหว่าง APQP กับ ISO/TS16949 (IATF 16949)
- ความเข้าใจของการวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ และกระบวนการอนุมัติการผลิต
- การวางแผนการผลิตล่วงหน้า APQP ให้มีความสอดคล้องกับข้อกำหนดใน ISO/TS16949 (IATF 16949)
- ความสัมพันธ์ระหว่าง APQP กับ ISO/TS16949 (IATF 16949)
- ความสัมพันธ์ระหว่าง APQP กับ FMEA, Control Plans, MSA, SPC and PPAP
- ความสัมพันธ์ระหว่าง APQP กับ CSR (Customer Specific Requirements)
- การประเมินความเสี่ยง
- การติดตามและการประเมินความสมบูรณ์ของแผนงาน
- ขั้นตอนการวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า (ในการเตรียมผลิตภัณฑ์ใหม่)
เฟส 1 การวางแผนและการกำหนดโครงการ
เฟส 2 การออกแบบและการพัฒนาผลิตภัณฑ์
เฟส 3 การออกแบบและการพัฒนากระบวนการ
เฟส 4 การรับรองผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
เฟส 5 ข้อมูลย้อนกลับ/การประเมิน และการลงมือแก้ไข
- กระบวนการทบทวนความเป็นไปได้และ Feasibility Review & Risk analysis
- การจัดการเพื่อทบทวนกระบวนการการผลิต (Process Review Management)
Module 2:
การจัดทำแผนควบคุม (Control Plan= CP)
- แผนควบคุม (Control Plan) คืออะไร
- ความสำคัญของแผนควบคุม (Control Plan)
- ประเภทของแผนควบคุม (Control Plan)
- การลงรายละเอียดในเอกสารแผนควบคุม (Control Plan) ที่ถูกต้อง
- เทคนิคการจัดทำและประยุกต์ใช้แผนควบคุม (Control Plan)
- สำหรับช่วงทดลองผลิต (Pre-Production) และผลิตจริง (Mass-Production)
- ข้อควรระวังและประเด็นปัญหาที่พบบ่อยในการลงรายละเอียดในแผนควบคุม ที่มีความผิดพลาด ในมุมมองของผู้ตรวจประเมิน
Module 3 :
บริบทของการ “การอนุมัติชิ้นส่วนการผลิต” (Production Part Approval Process : PPAP)
- ขอบเขตการของอนุมัติ วัตถุประสงค์ของการตรวจรับรองชิ้นส่วนการผลิต
- ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานยานยนต์ และข้อกำหนดการอนุมัติผลิตภัณฑ์เพื่อทำการผลิต
- ความสัมพันธ์ระหว่าง PPAP กับ APQP, FMEA, Control Plans, MSA and SPC
- การวางแผนการจัดทำ PPAPและการพิจารณาขอบข่ายในการจัดเตรียม PPAP
- ความสัมพันธ์ระหว่าง PPAP กับ CSR (Customer Specific Requirements)และการพิจารณา PPAP Level.
- ระบบเอกสารที่จำเป็นสำหรับการอนุมัติ
- ปัญหาและแนวทางการแก้ไข
วันที่ 2
Module 4:
การวิเคราะห์ระบบการวัด (MEASUREMENT SYSTEM ANALYSIS: MSA)
- ความหมายและความเข้าใจคุณลักษณะทางสถิติของระบบการวัด
- หลักการและความแปรผันในระบบการวัดและความคลาดเคลื่อนของระบบการวัด
- การปรับปรุงระบบการวัดเพื่อนำไปสู่การสร้างความเชื่อถือ
- การวิเคราะห์ความแม่นยำของระบบการวัดแบบ Variable ของ (GR&R)
- การวิเคราะห์ความถูกต้องของระบบการวัดแบบ Variable ของ (Bias)
- การวิเคราะห์ความถูกต้อง/แม่นยำ เมื่อเปลี่ยนย่านวัดแบบ Variable ของ (Linearity)
- การวิเคราะห์ความถูกต้อง/แม่นยำเมื่อเปลี่ยนย่านวัดแบบ Variable ของ (Stability)
- การวิเคราะห์เสถียรภาพการวิเคราะห์ระบบการวัดแบบนับ (Kappa)
- ขั้นตอนการวิเคราะห์ Repeatability, Reproducibility แบบ Attribute
- การคำนวณ Kappa, Effectiveness, Miss Rate , False Alarm Rate
Module 5:
การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ (Failure Mode and Effects Analysis =FMEA)
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของ FMEA
- ประเภทของ FMEA และทบทวนคำศัพท์/นิยาม/หลักการของ FMEA
- เทคนิคการประยุกต์ใช้ FMEA ตามมาตรฐานของระบบคุณภาพ ISO/TS16949 (IATF 16949)
- การวิเคราะห์แนวโน้มลักษณะข้อบกพร่องและผลกระทบของกระบวนการ
- เทคนิคการลงบันทึกในเอกสาร FMEA ฉบับใหม่
- แนวคิดและเทคนิคของ Design FMEA และวิธีการนำไปใช้กับขั้นตอนการออกแบบผลิตภัณฑ์
- การออกแบบ Design FMEA ให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า
- แนวคิดและเทคนิคของ Process FMEA และวิธีการนำไปใช้กับขั้นตอนการออกแบบกระบวนการ
- เกณฑ์การประเมินและให้คะแนนของค่าความรุนแรง, โอกาสเกิดและการตรวจจับตามคู่มือ FMEA ฉบับใหม่
- เทคนิคและแนวทางในการวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ
Module 6:
การควบคุมกระบวนการโดยใช้เทคนิคทางสถิติ (Statistical Process Control=SPC)
- แนวคิดและวิวัฒนาการด้านสถิติความสำคัญและความหมายของสถิติ
- แนวทางการนำสถิติไปใช้ภายใต้เงื่อนไขของระบบการจัดการด้านคุณภาพ ISO/TS16949 (IATF 16949)
- ประโยชน์ของการนำสถิติไปใช้ในการควบคุมกระบวนการ
- ทบทวนความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติ
- ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาและการนำสถิติ ไปใช้ ในการควบคุมกระบวนการ
- เทคนิคการควบคุมกระบวนการและการคำนวณ โดยใช้สถิติ เครื่องมือทางสถิติ Control Chart ประเภทต่างๆ ได้แก่ Variable Control Chart / Xbar-R Chart, Xbar-S Chart, X-MR etc. Attribute Control Chart,P Chart, np Chart, C Chart และ U Chart
- เทคนิคการวิเคราะห์ และตีความหมายของความผิดปกติ ในแผนภูมิควบคุมด้านต่างๆ
- การดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องเมื่อเกิดความผิดปกติ
- แนวคิดของการศึกษาความสามารถของกระบวนการ
- เทคนิคการคำนวณค่าความสามารถของกระบวนการ (Cp, Cpk, Pp, Ppk)
- การวิเคราะห์ และตีความหมายของดัชนีวัดความสามารถประเภทต่างๆ และการน าไปปรับปรุงเพื่อ ยกระดับขีดความสามรถของกระบวนการ
ติดต่อสอบถาม
Tel : 098-8209929 คุณกุ้ง
E-mail: inwtraining.sale@gmail.com
Line id : @Tesstraining
Facebook : tesstrainingpage
ทาง บริษัท เทสส์ เทรนนิ่ง จำกัด เป็นบริษัทฝึกอบรมสัมมนาครบวงจร
In-house Training
www.tesstraining.com
www.inwtraining.com