บัญชี พา รวย & รวย ด้วย บัญชี
เจ้าของธุรกิจที่ต้องการหมดปัญหาเรื่องภาษีอากร การติดต่อสรรพกร การเลือกสำนักงานบัญชีเพราะเจ้าของธุรกิจคิดแต่เพียงว่า เรื่องของบัญชี ภาษีอากร นั้นเป็นเรื่องของสำนักงานบัญชีเลยไม่อยากเสียเวลาแต่ความจริงแล้ว นอกจากเรื่องภาษีแล้วสิ่งสำคัญที่ SME ไม่ควรมองข้าม คือ ดูงบการเงินและบัญชีในรายเดือน เพื่อเจ้าของธุรกิจจะได้รู้ถึงสถานะความเป็นจริงของธุรกิจห้เป็นอย่างเร่งด่วน เพื่อใช้ในการวิเคารห์สถานะทางการเงินและบัญชีของกิจการรวมถึงเพิ่มเติมในเนื้อหาเรื่องของทำธุรกิจแบบเจ้าของ ในการดำเนินธุรกิจไม่ว่าจะประเภทใดย่อมมีวัตถุประสงค์เดียวกัน คือ ผลตอบแทนหรือกำไรที่จะได้รับ การที่ธุรกิจจะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องประกอบด้วยระบบการจัดการที่ดี การขายและการผลิตที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีระบบการจัดการด้านบัญชีที่มีคุณภาพอีกด้วย ดังนั้น
ธุรกิจที่ดี จึงต้องมีการวางระบบบัญชีที่ดี ซึ่งเป็นลักษณะของการจัดเตรียมเกี่ยวกับรูปแบบเอกสารระบบบัญชีและรายงานที่มีความถูกต้องและสอดคล้องกับระบบบัญชี ด้วยเหตุผลดังกล่าว งานวางระบบบัญชีของธุรกิจที่จำเป็นต้องกระทำด้วยความรู้จริง รอบคอบและรัดกุมในทุกด้านความต้องการของฝ่ายบริหาร เพื่อทำให้องค์กรได้รับผลประโยชน์สูงสุดจากการมีระบบบัญชีที่ดี
รวย ด้วย บัญชี
กรณีศึกษาวางระบบภาษีและภาษีอากร
1)ความรู้ทางกฏหมายที่ผู้ทำธุรกิจต้องรู้
2)ภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.1)หลักการเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.2)กิจกรรมที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.3)กิจกรรมที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.4)ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.5)ฐานภาษี
2.6)อัตราภาษี
2.7)การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.8)ความรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
2.9)บทกำหนดโทษ
2.10)แบบคำร้องและแบบแสดงรายการ
3)ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
3.1)หลักการเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
3.2)ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
3.3)หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้
3.4)ประเภทเงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย
3.5)หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย
3.6)บทกำหนดโทษ
3.7)แบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายประเภทต่างๆ
4)ภาษีเงินได้นิติบุคคล
4.1)เข้าใจหลักการในการจัดทำงบการเงิน
4.2)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล
4.3)ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
4.4)เงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
4.5)รอบระยะเวลาบัญชีและการเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชี
4.6)การยื่นแบบแสดงรายการผู้มีเงินได้กลางปีและประจำปี
4.7)บทกำหนดโทษ
4.8)แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ต่างๆ
5)กรณีศึกษาภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่ผู้ทำธุรกิจต้องใส่ใจ
5.1)การหักภาษี ณ ที่จ่าย กรณีจ่ายเงินตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไปมีหลักเกณฑ์อย่างไร
5.2)กรณีชำระค่าบริการด้วย เงินสด, เช็ค, เช็คลงวันที่ล่วงหน้าต้องหักและปฏิบัติอย่างไร
5.3)ไม่ได้หักหรือผู้รับเงินไม่ได้หักแก้ไขอย่างไร
5.4)แนวทางปฏิบัติในการขอคืนภาษีหัก ณ ที่จ่าย กรณีถูกหักไว้เกิน
5.5)ค่านายหน้าคำนวณหักภาษีนะที่จ่ายอย่างไร
5.6)ค่าเบี้ยเลี้ยงค่าเดินทางถือเป็นรายจ่ายอย่างไร
5.7)ค่าน้ำมันรถ กรณีพนักงานนำรถมาใช้ถือเป็นเงินได้ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
5.8)การจ่ายค่าลิขสิทธิ์ ค่าจ้างค่าทำของต้องหักนะที่จ่ายอย่างไง
5.9)การจ่ายค่าบริการอินเทอร์เน็ตและค่าเช่าพื่นที่เว็บซ์ต้องหักภาษีหรือไม่
5.10)ค่าเช่า /เงินประกันการเช่าหักอย่างไรให้ถูกต้อง
5.11)การซื้อสินค้าพร้อมขนส่งหักภาษี ณ ที่จ่าย
5.12)จ่ายค่าบริการให้ส่วนลดเงินสด /ส่วนลดการค้าต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
5.13)จ่ายค่าบริการไปยังต่างประเทศหักหรือไม่อย่างไร
5.14)การให้ส่วนลดเงินสด /ส่วนลดการค้า ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่
5.15)จ้างก่อสร้างอาคารแต่แยกสัญญารับจ้างกับซื้อวัสดุต้องหักภาษีอย่างไร
5.16)เงินมัดจำ,เงินล่วงหน้า ,เงินประกันผลงานหักหรือไม่อย่างไร
6)กรณีศึกษาภาษีมูลค่าเพิ่มที่ผู้ทำธุรกิจต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง
6.1)จุดความรับผิดทางภาษีของธุรกิจแต่ละประเภท
6.1.1)ธุรกิจขายสินค้า
6.1.2)ธุรกิจให้บริการ
6.1.3)ธุรกิจขายสินค้าพร้อมบริการ
6.1.4)ธุรกิจบริการพร้อมจัดหาสินค้า
6.2)การจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่มและยื่นแบบได้อย่างถูกต้อง
6.3)การออกใบเพิ่มหนี้ /ใบลดหนี้
6.4)ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี การให้ส่วนลดเงินสด/ส่วนลดการค้า
6.5)ภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับเงินมัดจำ, เงินล่วงหน้า, เงินประกันผลงาน
6.6)ภาษีซื้อต้องห้าม(ห้ามขอคืนแต่ถือเป็นรายจ่าย)
6.7)ภาษีซื้อต้องห้าม(ห้ามขอคืนและไม่เป็นรายจ่าย)
6.8)การจำหน่ายสินค้าต่ำกว่าราคาทุน ทำได้หรือไม่มีผลกระทบอย่างไร
6.9)ภาษีซื้อจากการนำเข้าสินค้าและบริการ
6.10)ผลกระทบกรณีสินค้าขาดหรือเกินรายงาน
6.11)แนวปฏิบัติกรณีเลิกใช้ทรัพย์สิน
6.12)แนวปฏิบัติในการทำลายสินค้าคงเหลือ
6.13)ภาษีซื้อค่าไฟฟ้า /ค่าก่อสร้างโรงงานที่ระบุที่อยู่ไม่ตรงกับสถานที่ประกอบการขอคืนภาษีได้หรือไม่
7)กรณีศึกษาการรับรู้รายได้และรายจ่ายตามประมวลรัษฎากร
7.1)การรับรู้รายได้ทางบัญชีและภาษีอากร
7.1.1)การรับรู้รายได้ตามเกณฑ์สิทธิและอื่นๆ
7.1.2)การรับรู้รายได้การขายสินค้า
7.1.3)การรับรู้รายได้เงินมัดจำ,เงินรับล่วงหน้า
7.1.4)การรับรู้รายได้เงินปันผลและส่วนแบ่งกำไร
7.1.5)การรับรู้รายได้ตามมาตรา 65ทวิ ที่อาจจะถูกประเมินเพิ่มเติม
7.2)การรับรู้จ่ายทางทางบัญชีและภาษีอากร
7.2.1)การรับรู้รายจ่ายตามมาตรา 65ทวิ
7.2.2)จ่ายค่าเช่าบ้านให้พนักงานถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่มีผลกระทบอย่างไร
7.2.3)ค่ารักษาพยาบาล /ค่าเบี้ยประกันถือแป็นรายจ่ายต้องห้าม หรือ ไม่
7.2.4)การรับรู้ต้นทุนทรัพย์สิน
7.2.5)การคำนวณดอกเบี้ยเป็นต้นทุนของสินทรัพย์
7.2.6)การคำนวณต้นทุนกองสร้างอาคาร
7.2.7)การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินและการหักค่าเสื่อมราคาในอัตราพิเศษ
7.2.8)การวางแผนภาษีจากการเลิกใช้ทรัพย์สินหรือทรัพย์สินที่ชำรุดเสียหาย
7.2.9)การตัดหนี้สูญเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีและภาษีอากร
7.2.10)การวางแผนเพื่อรับมือรายจ่ายต้องห้าม ตามมาตรา 65ตรี
7.3)การวางแผนภาษีจากรายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
7.3.1)เงินปันผล
7.3.2)รายได้จากการประกอบการอบรมเพื่อพัฒนาผีมือลูกจ้าง
7.4)การวางแผนภาษีจาก รายจ่ายที่หักค่าใช้จ่ายได้เพิ่มขึ้น รายจ่ายหักได้เพิ่ม เช่น
7.4.1)ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฝึกอบรมและพัฒนาฝีมือแรงงาน
7.4.2)เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา
7.4.3)ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการอำนวยความสะดวกและการทำงานของคนพิการ
7.5)จัดทำประมาณการภาษีเงินได้ และยื่นแบบ ภ.ง.ด. ไม่ให้ขาดไปเกิน 25 %
7.6)การปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชี เป็นกำไรสุทธิทางภาษี
7.7)รายการทางบัญชีที่ต้องนำมาพิจารณาในการปรับปรุงงบการเงิน
7.8)วิธีการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อปรับปรุงภาษีอากรหลังปรับปรุง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีระบบบัญชีที่สอดคล้องกับประเภท(ลักษณะเฉพาะ)ของสถานประกอบการ
2.เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์และจัดทำรายงานสรุปเกี่ยวกับต้นทุนการผลิต
3.เพื่อให้ผู้ประกอบการมีแผนการทางการเงินในรูปงบประมาณประจำปี
4.เพื่อใช้ในการอธิบายความสามารถขององค์กรและให้มีข้อมูลที่เพียงพอต่อฝ่ายบริหารในการตัดสินใจ
5.เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการจัดทำข้อมูลทางการเงิน
ประโยชน์ที่จะได้รับ
1.มีระบบบัญชีที่ถูกต้องเปิดเผยชัดเจน โปร่งใสใช้ในการวิเคราะห์ได้
2.มีแนวความคิดเกี่ยวกับระบบบัญชีต้นทุนประเภทต่างๆที่ถูกต้องสอดคล้องกับกิจกรรมการผลิต
3.สถานประกอบการมีข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสมทันเวลาสามารถกำหนดจุดชี้วัดสำคัญของธุรกิจ
4.สามารถติดตามควบคุม ตัดสินใจ ดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที
5.พนักงานผู้ปฏิบัติงานได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย
เหมาะลำหรับ เจ้าของธุรกิจ,ทายาทเจ้าของธุรกิจ, ผู้สนใจเริ่มต้นธุรกิจ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเรื่องภาษีและผู้สนใจแต่ไม่รู้เรื่องการวางแผนระบบบัญชี
C012 รอบที่ 6/1 (เต็มแล้ว)
เริ่ม วันเสาร์ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561
ถึง วันอาทิตย์ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2561
C012 รอบที่ 6/2
เริ่ม วันเสาร์ที่ 28 เมษายน 2561
ถึง วันอาทิตย์ที่ 29 เมษายน 2561
เวลา 08.30-16.30น
ระยะเวลาอบรม 2วัน
ค่าลงทะเบียน 2วัน 5,600บาท
คลิกดูรายละเอียด
ตารางเรียนแบบเฉพาะ
1.รายวิชา
3.ธุรกิจความงาม(เครื่องสำอาง สปา น้ำหอม)
การเข้าอบรม
การันตรี โดย
4.รีวิว
ฝากร้านกับโครงการ
สมาชิก Mini Entrepreneur Program