เตรียมพร้อมรับมือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมแนวทางภาคปฏิบัติจริง15 ธ.ค. 2563
เตรียมพร้อมรับมือ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พร้อมแนวทางภาคปฏิบัติจริง
รายละเอียด
นับถอยหลัง…ที่องค์กรต้องเตรียมความพร้อมเข้าสู่การใช้ #PDPA #พ.ร.บ.ข้อมูลส่วนบุคคล ก่อนที่จะมี พรบ.ฉบับนี้จะเริ่มมีการบังคับใช้ และ การกำหนดบทลงโทษ “
ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของ ระวังโทษหนัก จำคุก 1 ปี ปรับ 3 ล้านบาท จ่ายค่าเสียหาย 2 เท่า
เป็นสิ่งที่เหล่าท่านผู้บริหารทุกองค์กรไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เพราะมีผลต่อองค์กรทั่วโลก”
ผู้ใดไม่มีระบบการคุ้มครองข้อมูลส่วนบบุคคล…ใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของคนอื่นไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวโดยเจ้าของข้อมูลไม่ยินยอม หรือ ทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือ ได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน – 1 ปี ปรับไม่เกิน 500,000 – 1,000,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ใดส่งข้อมูลส่วนบุคคลที่ต้องคุ้มครองพิเศษ ตามมาตรา 26 ไปต่างประเทศโดยไม่ปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด มีโทษปรับไม่เกิน 5,000,000 บาท หรือ ความผิดอื่น ๆ ที่นายจ้างต้องทราบและต้องทำให้เป็น
ข้อมูลส่วนบุคคลที่กฎหมายคุ้มครอง คือ
1.ข้อมูลของพนักงานในบริษัท
2.ข้อมูลของลูกค้า คู่ค้า ผู้มาติดต่องาน
ที่นายจ้างต้องจัดทำให้ชัดเจน รัดกุมและปลอดภัย..ท่านทำแล้วหรือยัง ?
หากไม่ทำ อาจจะถูกฟ้องเสียหายเป็นล้าน
ทำไม่เป็น ไม่เข้าใจ ต้องเข้าฟังสัมมนา เรื่องนี้
สัมมนา หลักสูตร พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562 ภาคปฏิบัติ
ส่วนที่ 1 : สรุปภาพรวมของกฎหมายนี้
1. ข้อมูลส่วนบุคคล คืออะไรบ้าง ?
2. เหตุผลที่ต้องออกกฎหมายนี้ เพราะอะไร ?
3. ตัวอย่างข้อมูลส่วนบุคคลที่คุ้มครองมีอะไรบ้าง ?
4. ข้อมูลสำคัญต้องห้ามขอมีอะไรบ้าง ?
5. สิทธิของเจ้าของข้อมูลมีอะไรบ้าง ?
6. การส่งข้อมูลไปนอกบริษัท ต่างประเทศต้องทำอย่างไร ?
7.ถ้ามีคนนำข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ เจ้าของข้อมูลจะฟ้องร้องได้ที่ไหน ?
8. บทลงโทษผู้ละเมิด ไม่ทำตามกฎมายนี้อาจะเสียเงินเป็นล้าน มีอะไรบ้าง ?
9.บทลงโทษทางปกครอง คืออะไร ?
ส่วนที่ 2 : ภาคปฏิบัติสำหรับนายจ้าง
การขอ -การเก็บ – การใช้ข้อมูลของพนักงาน
1. ตัวอย่าง – ข้อมูลของพนักงานที่นายจ้างเรียกเก็บได้มีอะไรบ้าง เพราะอะไร ?
2. ตัวอย่าง – การขอความยินยอมจากพนักงานใหม่ – พนักงานเก่าจะทำอย่างไร ?
3. ตัวอย่าง – การขอความยินยอมทาง Internet จะทำอย่างไร ?
4. ตัวอย่าง – สัญญาจ้างจะเขียนเพิ่มเข้าไปว่าอย่างไร ?
5. ตัวอย่าง – หนังสือขอให้ลูกจ้างส่งข้อมูลส่วนบุคคลว่าต้องทำอย่างไร ?
6. ตัวอย่าง – หนังสือขอดูหลักฐานการป่วยของพนักงานได้หรือไม่ ?ฃ
7. ตัวอย่าง – หนังสือเตือน – กรณีลูกจ้างเปิดเผยเงินเดือนกัน ลงโทษได้หรือไม่ ?
8. ตัวอย่าง – หนังสือปรามคนที่ลาออก – คนที่ถูกไล่ออก ไม่ให้เปิดเผยข้อมูลจะทำอย่างไร ?
แจกฟรี
ตัวอย่าง – Policy การคุ้มครองข้อมูล่นบุคคลเขียนอย่างไร ?
ตัวอย่าง – Checklist การจัดทำและการตรวจสอบตนเองเบื้องต้น
ตัวอย่างเอกสารที่ต้องใช้ในการจัดทำ
** ลอกใช้ได้เลย ไม่ต้องคิดเอง **
สนใจสำรองที่นั่งกรุณาติดต่อ เจ้าหน้าที่
บอร์โทรศัพท์ 087-0718100
Email : hrdeesolution@gmail.com
Line ID: hrdeesolution
www.hrdeesolution.com
วันที่อบรม : 12/15/2020
ราคา : 3862
การติดต่อ : คุณตุ๊ก
Email : hrdeesolution@gmail.com