การรักษาระบบ ISO 9001 ด้วย TQM : 27 กุมภาพันธ์ 2561

 

วิทยากร : อาจารย์ สืบสกุล แสงธำรง

o ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญด้านระบบ TQM / ISO / การเพิ่มผลผลิต

o ปริญญาโทสาขาบริหารอาชีวศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

o ปริญญโทสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง

o ปริญญาตรีสาขาอุตสาหการเชื่อมประสาน  คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

o ปริญญาตรีวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล)

 

วันและเวลาอบรม (DATE AND TIME) : 
27 กุมภาพันธ์ 2561 ระหว่าง 09.00-16.00 น. ลงทะเบียน 08.30 น.

 

สถานที่อบรม (VENUE) : 

โรงแรมแกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพ (สุขุมวิท 6)

 

หลักการและเหตุผล :

“การรักษาระบบ ISO 9001 ด้วย TQM” ปัญหาที่สำคัญหลังการรับรอง (Accreditation) ISO 9001 หรือระบบมาตรฐานอื่นๆ คือ ต้องมีการรักษา (maintained) ระบบและการเฝ้าระวัง (surveillance)  เนื่องจากเพราะเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนคุณภาพ (cost of quality)  ดังนั้น ผู้บริหารหรือ MR จำเป็นต้องกำหนดกิจกรรมในการรักษาระบบที่มากกว่าข้อกำหนดของมาตรฐานพร้อมกับการสร้างมูลค่าเพิ่ม (value-added) ไปพร้อมๆกัน  โดยให้มีความสอดคล้องกับข้อกำหนดของมาตรฐานที่ได้รับการรับรอง เช่น การใช้กิจกรรม KSS (Kaizen Suggestion System) กับ PAR (Preventive Action Request) เป็นต้น  ดังนั้น การมีส่วนร่วมของพนักงานและการบันทึกข้อมูลที่ได้รับจึงถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับการทำกิจกรรม  เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและวัตถุประสงค์คุณภาพขององค์กรได้อย่างชัดเจน พร้อมทั้งสามารถช่วยลด CAR (Corrective Action Request) ได้อย่างยั่งยืน สำหรับการบูรณาการด้วย TQM

หลักสูตรนี้ออกแบบสำหรับผู้บริหารหรือ MR เพื่อช่วยให้แนวคิดของการบริหารมาตรฐาน ISO 9001:2015 มีความเหมาะสมสำหรับองค์กรที่ต้องการสร้างมูลค่าเพิ่มแบบเติมเต็ม เพื่อเป็นไปตาม process approach ของข้อกำหนด อย่างครบวงจร

 

วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ :

1. ได้รับแนวคิดและหลักการ TQM ในรูปแบบ QMP (Quality Management Principles) ทั้ง 10 Clause

2. การเลือกใช้ประเภทเครื่องมือและหลักการสำหรับการบูรณาการ ภายใต้ข้อกำหนด  ISO 9001:2015

3. ให้รู้แนวคิดด้านการสร้างระบบการทำงานว่ามีแนวทางปฏิบัติเพื่อการสนับสนุนระบบ  ISO 9001:2015

4. สร้างกระบวนการการสร้างมูลค่าเพิ่ม (added value) ของข้อมูล (data) ที่ได้การบันทึกจากระบบ  ISO 9001:2015 มีความสามารถในการประมวลปัญหา สำหรับเขียนมาตรการของการทำงานในรูปของ PAR

5. เพื่อการสร้างนักป้องกัน (preventor) มากกว่านักแก้ไข

6. เพื่อสร้างความตระหนักในลักษณะการตรวจสอบแบบไม่ตรวจสอบ (Inspection without Inspection) ให้แก่พนักงาน

  

เนื้อหาของหลักสูตร

เริ่มต้น      เกริ่นนำโครงสร้างหลักสูตร

บทที่ 1     ปรัชญาแนวคิดหลักการและวิธีปฏิบัติของ TQM :Total Quality Management (JSA Models) 

  • รายละเอียดหลักการและวิธีปฏิบัติของ TQM (JSA Models)
  • แนวทางการบูรณาการมาตรฐาน ISO 9001:2015 กับ TQM (JSA Models)
  • ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการบูรณาการ

บทที่ 2     การเปรียบเทียบระหว่างโครงสร้างของมาตรฐาน ISO 9001:2015 กับหลักการและวิธีปฏิบัติของTQM (JSA Models)

  • รายละเอียดของการเปรียบเทียบเพื่อทำกิจกรรมบูรณาการ

บทที่ 3     เครื่องมือ TQM และกระบวนการการเลือกใช้ สำหรับ Clause 4-5

  • กิจกรรมการเชื่อมข้อมูลตาม QP ขององค์กร
  • ปัจจัยของแนวทางการเลือกเครื่องมือ

บทที่ 4     เครื่องมือ TQM และกระบวนการการเลือกใช้ สำหรับ Clause 6-7

  • กิจกรรมการเชื่อมข้อมูลตาม QP ขององค์กร
  • ปัจจัยของแนวทางการเลือกเครื่องมือ

Workshop 1 การเขียนการกำหนดกิจกรรมและการเขียนที่ใช้เครื่องมือของ TQM ด้วย process approach

  • ฝึกปฏิบัติการเขียนการกำหนดกิจกรรมด้วยเครื่องมือ TQM สำหรับ  Clause 4-7

บทที่ 5     เครื่องมือ TQM และกระบวนการการเลือกใช้ สำหรับ Clause 8

  • กิจกรรมการเชื่อมข้อมูลตาม QP ขององค์กร
  • เทคนิคการสร้างการมีส่วนร่วมในขั้นตอนของการปฏิบัติการต่างๆ

บทที่ 6     เครื่องมือ TQM และกระบวนการการเลือกใช้ สำหรับ Clause 9

  • กิจกรรมการเชื่อมข้อมูลตาม QP ขององค์กร
  • กิจกรรมเน้นลูกค้าตาม TQM
  • กิจกรรมการสร้างความพึ่งพอใจของลูกค้าทั้งภายในและภายนอก

บทที่ 7     เครื่องมือ TQM และกระบวนการการเลือกใช้ สำหรับ Clause 10

  • กิจกรรมการเชื่อมข้อมูลตาม QP ขององค์กร
  • เทคนิคการใช้กิจกรรมรายกลุ่มเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
  • เทคนิคการใช้กิจกรรมรายบุคคลเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

บทที่ 8     กระบวนการการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จในการประเมินผลของกิจกรรม ด้วย process approach

  • เทคนิคการกำหนดขั้นตอนและวิธีของ process approach
  • บทบาทของผู้ปฏิบัติงานต่อกิจกรรมขั้นตอนและวิธีของ process approach

Workshop 2 การเขียนการกำหนดกิจกรรมและการเขียนที่ใช้เครื่องมือของ TQM ด้วย process approach

  • ฝึกปฏิบัติการเขียนการกำหนดกิจกรรมด้วยเครื่องมือ TQM สำหรับ  Clause 8-10

บทที่ 9     การสร้างความตระหนักในลักษณะการตรวจสอบแบบไม่ตรวจสอบ (Inspection without Inspection) ให้แก่พนักงาน

  • เทคนิคการกำหนดขั้นตอนและวิธีของการตรวจสอบแบบไม่ตรวจสอบ (Inspection without Inspection)
  • เทคนิคการกำหนดขั้นตอนและวิธีของการเปลี่ยนแปลงแบบไม่เปลี่ยนแปลง (changed by No change)

บทที่ 10   การสร้างระบบเอกสารแบบบูรณาการเพื่อเพิ่มมูลค่าให้ระบบ

  • เทคนิคการสร้างมูลค่าเพิ่มจากระบบเอกสาร (Documentation)
  • บทบาทของ MR (management representative) ต่อการสร้างมูลค่าเพิ่ม

Q&A

 

หลักสูตรนี้เหมาะสมสำหรับ :

MR/ Ass. MR/ DCC และผู้สนใจทั่วไป

 

วิธีการในการเรียนรู้ :

การอบรมแบบปฏิบัติการ  เน้น how to มากกว่า what is แบบ Q&A

training by doing ฝึกเขียนเอกสารจากงานจริง (real practice)

 

วิธีการชำระเงิน

  • โอนเงิน หรือเช็คขีดคร่อมในนาม บริษัท พีเพิล ดีเวลลอป เซ็นเตอร์ จำกัด หรือ People Develop Center Co., Ltd. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สาขาถนนลาดปลาดุก (หมู่บ้านพฤกษา 3) บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ เลขที่ 405-776955-2
  • บริษัทขอสงวนสิทธิ์ในการเก็บค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมหากมีค่าธรรมเนียมในการโอนเกิดขึ้น
  • ค่าธรรมเนียมในการโอนเงิน (ถ้ามี) ผู้โอนเงินต้องเป็นผู้ชำระค่าธรรมเนียมเอง
    คำแนะนำในการชำระเงิน
  • โปรดชำระเงินที่เคาน์เตอร์ของธนาคาร และส่งFax สำเนาใบโอนเงิน พร้อมเอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% ระบุชื่อบริษัท ชื่อหลักสูตร ส่งมาที่ 02-077-6531 หรือ Scan ส่งเมล์มาที่ peopledevelop@outlook.com ในวันโอนเงิน
  • เอกสารหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% ตัวจริงกรุณานำมาให้ในวันอบรม กรณีเอกสารไม่ครบจะต้องชำระส่วนเพิ่มเป็นเงินสดที่หน้างาน
    ข้อมูลเพื่อออกใบหักภาษี ณ ที่จ่าย
    บริษัท พีเพิล ดีเวลลอป เซ็นเตอร์ จำกัด

เลขที่ 22/20  หมู่ที่ 6  ตำบลบางคูรัด  อำเภอบางบัวทอง  จ.นนทบุรี  11110

เลขประจำตัวผู้เสียภาษี  0125558000502

หมายเหตุ : กรณียกเลิกการเข้าสัมมนา กรุณาแจ้งล่วงหน้า 7 วันก่อนวันอบรม หากยกเลิกหลังจากนั้นโปรดกรุณาชำระเงิน 30% ของค่าสัมมนาเพื่อรับเอกสารการอบรม

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ : คุณฐิตาภา (ไก่) เหมะสิขัณฑกะ
Tel : 091-738-7838, 095-8177859, 02-077-6531

Fax : 02-077-6531

E-mail : peopledevelop@outlook.com
www.peopledevelop.net

Spread the love